จุนทะสามเณร ผู้มีส่วนริเริ่มสังคายนา
จุนทะเป็นน้องชาย ๑ใน ๗ ของพระสารีบุตรผู้เป็นอัครสาวกของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ออกบวชเป็นสามเณรในสำนักพระสารีบุตร ผู้เป็นพี่ชายโดยมีพระอานนท์เป็นพระอุปัชณาย์ (พระผู้บวชให้) เมื่อบวชแล้วก็บำเพ็ญเพียรเจริญวิปัสสนา ไม่นานนักก็บรรลุธรรมเป็นอรหันต์ตอนอายุ ๗ ขวบพร้อมคุณวิเศษ มักอาสาแสดงปาฏิหาริย์แทนพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
บุพกรรมของพระพุทธเจ้าตอนที่ ๑
บุคคลที่ทำกรรมชั่วไว้ ถึงจะหนีไปทางอากาศ ก็พ้นจากกรรมชั่วไปไม่ได้ หนีไปในท่ามกลางมหาสมุทร ก็พ้นจากกรรมชั่วไปไม่ได้ หนีเข้าไปในซอกเขาก็ไม่พ้นจากกรรมชั่วไปได้ บุคคลอยู่ในส่วนแห่งภาคพื้นใดพึงพ้นจากบาปกรรม ส่วนแห่งภาคพื้นนั้น ย่อมไม่มี
ออกแบบชีวิตด้วยตนเอง (๑)
นักปราชญ์ทั้งหลายกล่าวว่า ทานและการรบมีผลเสมอกัน พวกวีรบุรุษแม้มีน้อย ย่อมชนะคนขลาดที่มีพรรคพวกมากได้ ถ้าบุคคลเชื่อกรรมและผลของกรรมอยู่ ย่อมให้สิ่งของแม้น้อยได้ เพราะฉะนั้นแล ทายกนั้นย่อมเป็นผู้มีความสุขในโลกหน้า
คิดผิดคิดใหม่ได้ (๑)
ดูก่อนเธอผู้เห็นภัยในวัฏสงสารทั้งหลาย สัตว์ที่กลับมาเกิดในหมู่มนุษย์มีน้อย เหมือนฝุ่นในเล็บมือของเรา โดยที่แท้สัตว์ที่พากันไปเกิดเป็นอย่างอื่นนอกจากมนุษย์มีมาก เหมือนฝุ่นในพื้นปฐพีใหญ่
คุณพ่อไม่ค่อยเชื่อเรื่องนรกสวรรค์
คุณพ่อไม่ค่อยเชื่อเรื่องนรกสวรรค์ แต่ก็ทำบุญทอดกฐินผ้าป่าตามวัดต่างๆ เคยสร้างองค์พระให้ลูกชาย ๑ องค์ ปัจจุบันท่านยังดื่มเหล้าสูบบุหรี่อยู่
ธัมมจักรกัปปวัตตนสูตร (๑)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ตถาคตเป็นผู้มีวาจาเป็นหนึ่ง เราเป็นพระอรหันต์ ผู้ตรัสรู้เองโดยชอบ พวกเธอจงเงี่ยโสตสดับเถิด เราจะสั่งสอน จักแสดงธรรม พวกเธอปฏิบัติตามที่เราสั่งสอนแล้ว จะได้บรรลุธรรมอันยอดเยี่ยมตามเรา
ครุกรรม (๑)
คนพาลกระทำกรรมอันลามกอยู่ ย่อมไม่รู้สึก บุคคลที่มีปัญญาทรามย่อมเดือดร้อน เพราะกรรมทั้งหลายอันเป็นของตน เหมือนบุคคลที่ถูกไฟไหม้แล้วฉะนั้น
พรบ.ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2550
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2554” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดสามสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
วิเคราะห์การให้ทานของพระเวสสันดร (๑)
ปัจจุบันมนุษย์ต้องประสบกับปัญหารอบด้าน ไม่ว่าจะเป็นปัญหาครอบครัว เพื่อนร่วมงาน ค่าครองชีพที่สูงขึ้น มลพิษของสิ่งแวดล้อม ซึ่งล้วนเป็นปัญหา
ความหลากหลายของเปรต (๑)
การร้องไห้ก็ดี ความเศร้าโศกก็ดี การพิไรร่ำไรก็ดี บุคคลไม่ควรทำเลย เพราะการร้องไห้เป็นต้นนั้น ไม่เป็นไปเพื่อประโยชน์แก่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว ญาติทั้งหลายก็คงดำรงอยู่อย่างนั้น ทักษิณาทานที่ให้แล้ว ตั้งไว้ดีแล้วในสงฆ์ ย่อมสำเร็จประโยชน์แก่ชนผู้ล่วงลับไปโดยพลันสิ้นกาลนาน